- ความเป็นมาและความสำคัญของการกระจายอำนาจการบริหารและ การจัดการศึกษา
- หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management :SBM)
- แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาตามขอบข่ายภารกิจในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ ผู้บริหารการศึกษา / ผู้บริหารสถานศึกษา / ข้าราชการครู / บุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน/ลูกจ้าง สามารถยื่นขอรับบำเหน็จบำนาญด้วยตนเองทางอิเล็กทรอนิกส์ (Pensions’ Electronic Filing) ได้
ระยะเวลา
1 ชั่วโมง
- Teacher: บุญทรง กลับทอง
วัตถุประสงค์
ผู้เรียนสามารถอธิบายความหมายและความสำคัญของหนังสือติดต่อราชการ บอกลักษณะรูปแบบและรายงานของหนังสือภายนอก หนังสือภายในและหนังสือประทับตราได้
กลุ่มเป้าหมาย
- ผู้บริหารการศึกษา / ผู้บริหารสถานศึกษา / ข้าราชการครู / บุคลากรทางการศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน / ลูกจ้าง / ประชาชนและผู้ที่สนใจทั่วไป
ระยะเวลา
3 ชั่วโมง
สาระสำคัญ
1. ความหมายและลักษณะของหนังสือติดต่อราชการ
1.1 ความหมายและลักษณะของหนังสือติดต่อราชการ
1.2 ลักษณะของหนังสือภายนอก
1.3 ลักษณะของหนังสือภายใน
1.4 ลักษณะของหนังสือประทับตรา
2. วิธีเขียนหนังสือติดต่อราชการ
2.1 การเขียนหัวเรื่อง
2.2 การเขียนเนื้อเรื่อง
2.3 การเขียนจุดประสงค์ของเรื่อง
2.4 การเขียนท้ายเรื่อง
กิจกรรมการเรียนรู้
ศึกษาโดยการอ่านและทำความเข้าใจเรื่องความรู้พื้นฐานในการเขียนหนังสือติดต่อราชการจากเอกสาร
การวัดและประเมินผล
- ผู้เข้ารับการอบรมทำแบบทดสอบได้คะแนนร้อยละ 60
ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕
ซึ่งบังคับใช้กับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยอนุโลม
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ.๐๒๐๖.๗/๔๒ ลว ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๕๕”
ข้อ ๒ ระเบยบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก (๑) ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ พ.ศ. ๒๕๓๕ (๒) ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๙ (๓) ระเบียบว่าด้วยการลาของข้าราชการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒
ข้อ ๔ ให้ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีรักษาการตามระเบียบนี้ และมีอํานาจตีความและวินิจฉัย
ปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี